เริ่มแรกเรามาทำความเข้าใจว่า สมองเรารับรู้ความลึกได้อย่างไร(Depth perception, Depth Cue)
Depth perception ก็คือความสามารในการรับรู้ความลึกของวัตถุที่เรามองเห็น
ในชีวิตประจำวัน การที่เรารับรู้วัตถุใดอยู่ใกล้อยู่ไกลจากตัวเรา เวลาที่เราเดินหรือขับรถ เราสามารถรับรู้ว่าควรจะหลบหลีกวัตถุใดก่อนนั้น สมองเรามีการประมวลผลที่ซับซ้อนในการคำนวณระยะความลึกเพื่อให้เรารับรู้แบบ 3 มิติ
เรารับรู้ความลึกได้จาก
-ขนาดวัตถุ(Relative Size)
โดยเรารับรู้ความลึกจากขนาดของวัตถุที่เราจดจำได้ในอดีต แล้วนำมาเปรียบเทียวกับวัตถุที่เราเห็น วัตถุที่มีขนาดใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุแวดล้อม ก็จะอยู่ใกล้กว่า ตัวอย่างดังภาพข้างล่าง เราจดจำขนาดของกระป๋องกาแฟว่า มีขนาดเล็กว่าทีวีมาก แต่จากภาพ ทั้งสองวัตถุมีขนาดเกือบเท่ากัน ดังนั้นเราจึงตีความว่า กระป๋องกาแฟอยู่ใกล้กว่า
-การทับกัน(OverLap)
รับรู้โดยการดูการซ้อนทับของวัตถุ เราตีความว่า หากวัตถุที่ถูกวัตถุอื่นทับจะอยู่ไกลกว่า
-วัตถุที่ขนานกัน(Linear Perspective)
จะค่อยมีขนาดเล็กลงเมื่ออยู่ไกลขึ้น ตัวอย่างเช่น ถนน, รางรถไฟ
Depth perception ก็คือความสามารในการรับรู้ความลึกของวัตถุที่เรามองเห็น
ในชีวิตประจำวัน การที่เรารับรู้วัตถุใดอยู่ใกล้อยู่ไกลจากตัวเรา เวลาที่เราเดินหรือขับรถ เราสามารถรับรู้ว่าควรจะหลบหลีกวัตถุใดก่อนนั้น สมองเรามีการประมวลผลที่ซับซ้อนในการคำนวณระยะความลึกเพื่อให้เรารับรู้แบบ 3 มิติ
เรารับรู้ความลึกได้จาก
-ขนาดวัตถุ(Relative Size)
โดยเรารับรู้ความลึกจากขนาดของวัตถุที่เราจดจำได้ในอดีต แล้วนำมาเปรียบเทียวกับวัตถุที่เราเห็น วัตถุที่มีขนาดใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุแวดล้อม ก็จะอยู่ใกล้กว่า ตัวอย่างดังภาพข้างล่าง เราจดจำขนาดของกระป๋องกาแฟว่า มีขนาดเล็กว่าทีวีมาก แต่จากภาพ ทั้งสองวัตถุมีขนาดเกือบเท่ากัน ดังนั้นเราจึงตีความว่า กระป๋องกาแฟอยู่ใกล้กว่า
กระป๋องกาแฟอยู่ใกล้กว่าทีวี เนื่องจากเราใช้การจดจำขนาดกระป๋องกาแฟเพื่อเปรียบเทียบระยะลึก
เรารู้ว่าเก้าอีในภาพมีขนาดเท่ากัน เราจึงตีความว่า เก้าอีที่มีขนาดเล็กนั้นอยู่ไกลกว่า
-การทับกัน(OverLap)
รับรู้โดยการดูการซ้อนทับของวัตถุ เราตีความว่า หากวัตถุที่ถูกวัตถุอื่นทับจะอยู่ไกลกว่า
วงกลมสีอะไรอยู่ใกล้กว่า
-สีสัน(Hue)
วัตถุที่อยู่ไกลจะมีสีซีดกว่าวัตถุที่อยู่ใกล้ เนื่องจากฝุ่นละออง+หมอกที่อยู่ในอากาศจะเป็นตัวลดความสดของสีของวัตถุที่อยู่ไกล ตัวอย่างที่เราพบเห็นกันบ่อยๆก็คือภาพทิวทัศน์วัตถุที่อยู่ไกลจะมีสีซีด
จะค่อยมีขนาดเล็กลงเมื่ออยู่ไกลขึ้น ตัวอย่างเช่น ถนน, รางรถไฟ
วัตถุที่ขนานกัน จะบรรจบกันที่ระยะอนันต์